วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บทที่ 3


1.ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้กี่วิธี อะไรบ้าง
คือ


กระบวนการหรือขั้นตอนในการแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น
แบบฟอร์มเอกสาร ,รายงาน,
วินิทัศน์ โดยการนำเอางานสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนางานในองค์กรต่างๆ
ประเภทการประมวลผลข้อมูล มี 3 ประเภท คือการประมวลผลข้อมูลด้วย
1.แรงงานคน
2.เครื่องจักร
3.เครื่องอิเล็คทรอนิคส์
ปัจจุบันนิยม 2แบบ คือ
1.ด้วยแรงงานคน
2.ด้วยเครื่องอิเล็คทรอนิคส์
การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์เป็นการประมวลผลข้อมูลโดยการใช้คอมพิวเตอร์
ซึ่งจะทำให้ขั้นตอนการทำงานสะดวก ถูกต้องรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
เหมาะที่จะใช้เกี่ยวกับ งานการเงิน,สถิติ,และงานบัญชีเป็นต้น
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้ 3วิธี ดังนี้
1.1ขั้นเตรียมข้อมูลเป็นการเตรียมข้อมูลเพื่อให้สะดวกต่อการประมวลผล
ซึ่งมี 4 วิธี
1.1การลงรหัส
1.2.การตรวจสอบ
1.3.การจำแนก
1.4.การบันทึกข้อมูลลงสื่อ
1.2 ขั้นตอนการประมวลผลคือ
เป็นการนำเอาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาใช้เพื่อประมวลผลข้อมูลที่ได้เตรียมไว้และข้อมูลยังคงเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์
ซึ่งเป็นวิธีการผลิตสารสนเทศต่างๆ เช่น
2.1การคำนวณ
2.2การเรียงลำดับข้อมูล
2.3การสรุป
2.4การเปรียบเทียบ
1.3ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์
เป็นขั้นตอนการเผยแพร่สารสนเทศให้กับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ อาจอยู่ในรูปแบบเอกสาร รายงาน การนำเสนอบนจอภาพ
โดยการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

2.จงเรียงลำดับโครงสร้างข้อมูลจากขนาดเล็กไปใหญ่
พร้อมอธิบายความหมายของโครงสร้างข้อมูลแต่ละแบบ
โครงสร้างข้อมูล
บิต(Bit) หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลเลขฐาน
2 คือ 0,1
ไบต์(Byte)การนำบิตมารวมกัน
เรียกว่า ตัวอักขระ,ตัวอักษร
ฟิลด์(Field) การนำไบต์หลาย
ๆ ไปมารวมกัน เรียกว่า เขตข้อมูล
เรคอร์ด(Record)การนำฟิลด์หลาย
ๆ ฟิลด์มารวมกัน การนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มารวมกัน
ไฟล์(File) การเรคอร์ดหลาย
ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
ฐานข้อมูล(Database)การนำไฟล์หลาย
ๆ ไฟล์มารวมกัน การนำไฟล์หลาย ๆ ไฟล์มารวมกัน

3.หากนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้ในหน่วยงานที่นักศึกษาทำงานอยู่
สามารถมีแฟ้มข้อมูลใดบ้าง และระบบฐานข้อมูลนั้นมีประโยชน์ต่อองค์กรอย่างไร

ฐานข้อมูลนั้นมีประโยชน์ต่อองค์กรดังนี้
1. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
2. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน
3. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล
4. รักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
5. กำหนดระบบรักษาความปลอดภัย
6. กำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้
7. เกิดความอิสระของข้อมูล

4.จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการประมวลผลข้อมูลแบบแบทช์และแบบเรียลไทม์
การประมวลผลแบบกลุ่ม (BatchProcessing)
1.รวบรวมข้อมูล และแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ
แล้วจึงส่งเครื่องคอมพิวเตอร์
2.ทำการประมวลผลครั้งเดียว
3.จะไม่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์

วิธีการประมวลผลแบบเวลาจริง ( Real Time Processing ) 1.การประมวลผลที่เมื่อทำการส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์แล้วจะได้ผลลัพธ์ออกมาทันที
2.แสดงผลข้อมูลทันทีทันใด โดยแสดงผลทาง Output
3.เช่น
การใช้บริการบัตรเครดิตตามห้างร้านต่าง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น